KNACKSAT (อ่านว่า แนคแซท) ย่อมาจาก KMUTNB Academic Challenge of Knowledge SATellite เป็นดาวเทียมคิวแซท (CubeSat) ขนาด 1U ที่ออกแบบและพัฒนาโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และเป็นดาวเทียมดวงแรกที่สร้างทั้งหมดภายในประเทศไทย แนคแซทได้เดินทางออกจากประเทศไทยซึ่งเป็นมาตุภูมิครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2561 และประสบความสำเร็จในการประกอบรวมเข้ากับอุปกรณ์ปล่อยดาวเทียมเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2561 ที่ Spaceflight's Auburn Integration Facility รัฐวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ดาวเทียมแนคแซทถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรในอวกาศเป็นที่เรียบร้อยแล้วกับ Spaceflight’s dedicated rideshare mission “SSO-A” ด้วยจรวด SpaceX Falcon 9 จากฐานยิงจรวด Vandenberg Air Force Base เมือง California ประเทศสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2561 และสัญญาณแรก (first voice) ของดาวเทียมแนคแซทถูกตรวจจับได้ในวันที่ 4 ธันวาคม 2561, 09:04 (เวลาสากล)
KNACKSAT-2 ดาวเทียมรูปแบบ 3U คิวแซท (3U CubeSat) มีขนาด 30 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร และมีน้ำหนักไม่เกิน 200 กิโลกรัม โดยแผนการปล่อย จะปล่อยจากอุปกรณ์ปล่อยดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรประเภท วงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์จาก[[สถานีอวกาศนานาชาติ ]] ในระดับความสูง 400 กิโลเมตร
KNACKSAT (KMUTNB Academic Challenge of Knowledge SATellite) is a 1U-CubeSat satellite designed and developed by King Mongkut’s University of Technology North Bangkok (KMUTNB), Thailand. It is the Thailand's first locally-built satellite. The satellite left its motherland, Thailand, for the first time on September 22, 2018 and was successfully integrated into a dispenser on September 24, 2018 at Spaceflight's Auburn Integration Facility, WA, USA. KNACKSAT was successfully launched with Spaceflight’s first fully dedicated rideshare mission, SSO-A SmallSat Express, on December 3rd, 2018 aboard a SpaceX Falcon 9 out of Vandenberg Air Force Base in California . The first voice was detected on December 04, 2018 (09:04 UTC).
KNACKSAT-2 The 3U CubeSat format satellite measures 30 centimeters x 10 centimeters x 10 centimeters and weighs no more than 200 kilograms. Will be released from a satellite launch device into a type of orbit. Orbit relative to the sun from the[[International Space Station]] at an altitude of 400 kilometers.
หัวหน้าโครงการ
Team leaderr
ศ.ดร. สุวัฒน์ กุลธนปรีดา
Prof. Dr. Suwat Kuntanapreeda
นักวิจัย/นักประดิษฐ์
Inventors
1. ดร. พงศธร สายสุจริต
Dr. Pongsatorn Saisutjarit
2. ผศ.ดร. สุรเมธ เฉลิมวิสุฒม์กุล
Asst. Prof. Dr. Ing. Suramate Chalermwisutku
3. ผศ.ดร. กรองแก้ว เลาหลิดานนท์
Asst. Prof. Dr. Ing. Krongkaew Laohalidanond
4. ดร. สว่างทิตย์ ศรีกิจสุวรรณ
Dr. Sawangtit Srikitsuwan
5. ดร. ธีรวัจน์ แสงเพชร์
Dr. Teerawat Sangpet
6. นายสมศักดิ์ โชติชนาทวีวงศ์
Mr. Somsak Chotichanathawewong
7. นางสาวธีราพร แสนทวี
Ms. Dheeraporn Seentawee
8. นายอภิวัฒน์ จิรวัฒนผล
Mr. Apiwat Jirawattanaphol
9. นายนวรัตน์ วรกุล
Mr. Nawarat Worrakul
10. นายวสันต์ จันทรโชติ
Mr. Vasan Jantarachote
11. นายพงศกร มีมาก
Mr. Phongsakorn Meemak
12. นางสาวเอกจิรา กุยยกานนท์
Ms. Aekjira Kuyyakanont
13. นายพศุตม์ ปัทมนิรันดร์กุล
Mr. Pasut Pattarmanirankul
14. นายพลวัฒน์ แผนจบก
Mr. Poalawat Panchabog
15. นางสาวภารดี เชิดชิด
Ms. Paradee Chardchid
16. นายทรงวุฒิ วชิรไพรสัณฑ์
Mr. Songwoot Wachirapsun
17. นายกิโรฒม์ อาภาทัต
Mr. Kirote Arpanutud
18. นายวิธวัช ทัพสวัสดิ์
Mr. Witawat Tapsawat
19. นายปุรเชษ มานพ
Mr. Purachet Manop