รถไฟฟ้าขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติแบบไร้คนขับ
Automated People Mover: APM
Guide Rail
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut
Guide Rail
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut
Guide Rail
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut
รถไฟฟ้าขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติแบบไร้คนขับ
Automated People Mover: APM
KEY INFORMATION
TECHNOLOGY CATEGORY: Environment, Clean Air & Water - Sensor, Network, Monitoring & Quality Control Systems Healthcare
TECHNOLOGY READINESS LEVEL (TRL): TRL1-8
RESEARCHER TEAM:
TECHNOLOGY OVERVIEW
รถ APM เป็นรถไฟฟ้าไร้คนขับรูปแบบหนึ่งที่ใช้ล้อยางวิ่งบนพื้นคอนกรีต โดยมีรางเหล็กวางอยู่ตรงกลาง ระหว่างล้อซ้าย-ขวา เพื่อช่วยนำทางและเลี้ยว รถ APM เป็น
รถไฟฟ้ารูปแบบหนึ่งที่นิยมสำหรับวิ่งในท่าอากาศยานหรือภายในสถานที่ที่ต้องการระบบขนส่งขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เช่น ย่านชุมชนหนาแน่น ซึ่งในต่างประเทศมักนิยม
นำรถ APM เข้าไปช่วยในการลดระยะทางในการเดินของผู้โดยสารภายในอาคารหรือระหว่างเทอร์มินอลกับอาคารเทียบเครื่องบิน สำหรับประเทศไทยมีการใช้งานรถ APM
ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเพื่อใช้รับส่งผู้โดยสารระหว่างเทอร์มินอลกับอาคารเทียบเครื่องบินและรถไฟฟ้าสายสีทอง เป็นต้น
ประเทศไทยยังไม่มีเทคโนโลยีการผลิตรถ APM เป็นของตนเองทำให้ต้องนำเข้ารถ APM จากต่างประเทศ ส่งผลให้การบำรุงรักษาในอนาคตต้องพึ่งพิงชิ้นส่วนและ เทคโนโลยีจากต่างประเทศ ซึ่งการพัฒนารถ APM ต้องอาศัยความรู้ในหลายด้าน เช่น เทคโนโลยีการออกแบบ วัสดุศาสตร์ วิศวกรรมไฟฟ้าและควบคุม และวิศวกรรม การผลิต เป็นต้น ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือเป็นมหาวิทยาลัยทางด้านเทคโนโลยีที่มีนักวิจัยในสาขาต่างๆ แต่ยังขาดการบูรณาการเพื่อสร้าง นวัตกรรม ดังนั้นโครงการวิจัยนี้จึงเป็นการบูรณาการนักวิจัยในสาขาต่างๆ ในการจัดสร้างรถ APM โดยนำผลงานวิจัยของนักวิจัยที่มีอยู่เดิมมาต่อยอดผลิตเป็นรถ APM
ประเทศไทยยังไม่มีเทคโนโลยีการผลิตรถ APM เป็นของตนเองทำให้ต้องนำเข้ารถ APM จากต่างประเทศ ส่งผลให้การบำรุงรักษาในอนาคตต้องพึ่งพิงชิ้นส่วนและ เทคโนโลยีจากต่างประเทศ ซึ่งการพัฒนารถ APM ต้องอาศัยความรู้ในหลายด้าน เช่น เทคโนโลยีการออกแบบ วัสดุศาสตร์ วิศวกรรมไฟฟ้าและควบคุม และวิศวกรรม การผลิต เป็นต้น ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือเป็นมหาวิทยาลัยทางด้านเทคโนโลยีที่มีนักวิจัยในสาขาต่างๆ แต่ยังขาดการบูรณาการเพื่อสร้าง นวัตกรรม ดังนั้นโครงการวิจัยนี้จึงเป็นการบูรณาการนักวิจัยในสาขาต่างๆ ในการจัดสร้างรถ APM โดยนำผลงานวิจัยของนักวิจัยที่มีอยู่เดิมมาต่อยอดผลิตเป็นรถ APM
TECHNOLOGY FEATURES & SPECIFICATIONS
เทคโนโลยีการผลิตรถ APM รถไฟฟ้าไร้คนขับรูปแบบหนึ่งที่ใช้ล้อยางวิ่งบนพื้นคอนกรีต สำหรับวิ่งในท่าอากาศยานหรือภายในสถานที่ที่ต้องการระบบขนส่งขนาดเล็กถึง
ขนาดกลาง เช่น ย่านชุมชนหนาแน่น หรือท่าอากาศยาน สำหรับใช้ในการเดินของผู้โดยสารภายในอาคารหรือระหว่างเทอร์มินอลกับอาคารเทียบเครื่องบิน